มรณกรรมและมรดก ของ อาร์เทอร์ คอมป์ตัน

อาร์เทอร์ถึงแก่กรรมเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2505 ด้วยโรคเลือดออกในสมอง บุตรภริยาของเขาได้นำศพไปฝังที่สุสานเมืองวูสเตอร์ บ้านเกิดของเขาเอง[11][36] บ้านของเขาในปัจจุบันกลายเป็นมรดกแห่งชาติ[37]

ในช่วงที่มีชีวิต เขาได้รับเกียรติยศต่าง ๆ อาทิ รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ พ.ศ. 2470 เหรียญทองมัตเตอุชชี พ.ศ. 2476 เหรียญฮิวก์ราชวิทยสมาคมอังกฤษ และเหรียญเบนจามิน แฟรงคลิน พ.ศ. 2483[38] รวมถึงมีการนำชื่อของเขาไปตั้งเป็นชื่อสถานที่ต่าง ๆ อาทิ หลุมอุกกาบาตคอมป์ตันบนดวงจันทร์[39] ห้องปฏิบัติการวิจัยที่มหาวิทยาลัยวอชิงตันเซนต์หลุยส์[40] หอพักคอมป์ตันของมหาวิทยาลัยฯ[41] เซ็นต์หลุยวอล์กออฟเฟม (St Louis Walf of Fame)[42] และห้องปฏิบัติการรังสีแกมมาที่นาซ่า[43]

ใกล้เคียง

อาร์เทอร์ คอมป์ตัน อาร์เธอร์ โคนัน ดอยล์ อาร์เธอร์ ซี. คลาร์ก อาร์เทอร์ รูบินสไตน์ อาร์เทอร์ เคเพลล์ บารอนเคเพลล์ที่ 1 แห่งแฮดัม อาร์เทอร์ ซิลวา อาร์เทอร์ ฟิลลิป อาร์เทอร์ รอสตรอน อาร์เทอร์ โชเปนฮอยเออร์ อาร์เชอร์

แหล่งที่มา

WikiPedia: อาร์เทอร์ คอมป์ตัน http://www.findagrave.com/cgi-bin/fg.cgi?page=gr&G... http://books.google.com/books?id=QSgDAAAAMBAJ&pg=P... http://www.informationphilosopher.com/freedom/two-... http://www.informationphilosopher.com/solutions/sc... http://www.springerreference.com/docs/html/chapter... http://the-moon.wikispaces.com/Compton http://library.nd.edu/chemistry/resources/genealog... http://compton-house.uchicago.edu http://math.ucr.edu/home/baez/lengths.html#compton... http://alsos.wlu.edu/qsearch.aspx?browse=people/Co...